วันจันทร์ที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

บันทึกเข้าเรียนครั้งที่14

วันอังคาร ที่ 8 กุมพาพันธ์ 25541
วันนี้อาจารย์ให้นักศึกษาวัดความรู้ดังหัวข้อต่อไปนี้-การจัดสภาพแวดล้อมในห้องเรียนควรมีลักษณะอย่างไร
-มุมที่ดีควรมีลักษณะอย่างไร
-มุมบ้าน
-มุมหมอ
-มุมร้านค้า
-มุมจราจร
2.ข้อคิดสำหรับการสอนภาษาหลักและเกณฑ์ให้นักศึกษาไปคิดต่อ
1เริ่มจากตัวเด็กก่อน ไม่ว่าจะเป็นความพร้อมหรือสนใจ
2สอนแบบธรรมชาติ
3สอนอย่างมีความหมาย
4สอนจากสิ่งที่เด็กได้พบเห็น หรือมีประสบการณ์มาก่อน
5สอนให้เด็กรู้สึกสนุกและอยากเรียน
6ให้โอกาสเด็กได้ใช้ภาษา
7เด็กอยากอ่านก็ครให้อ่านเด็กแยกเขียนก็ควรให้เขียน
3.เทคนิคที่ไม่ควรนำมาใช้ในการสอนภาษา
1เน้นความจำ
2เน้นการฝึก
3ใช้การทดสอบ
4สอนแต่ละลักษณะแยกจากกัน
5การตีตราเด็ก
6ใช้แบบฝึกที่เป็นกระดาษหรือดินสอเป็นจุดประ
7ไม่ยอมรับความผิดพลาด
8สอนภาษาเฉพาะในเวลาที่กำหนด9ช่วงการสอนภาษาจะจำกัดเวลา
10จำกัดวัสดุอุปกรณ์อาจเหลือเพียง ดิรสอ หนังสือแบบเรียน
4)เทคนิคที่ควรนำมาใช้ในการสอนภาษา
1สอนในสภาพแวดล้อมที่เป็นธรรมชาติ
2สอนสิ่งที่มีความหมายสำหรับเด็ก
3สอนจากสิ่งที่รู้ไปสู่สิ่งที่ไม่รู้
4บรูณาการเข้ากับสาขาวิชาเรียน
5ให้โอกาสเด็กทุกคนเรียนรู้ภาษา
6ใช้ความคิดและถ้อยคำของเด็ก
7ยอมรับการคาดเดาของเด็ก
8ให้โอกาสเด็กอย่างมากมาย
9จัดหาเครื่องเครื่องใช้ต่างๆ
10ทำให้การเรียนรู้น่าสนใจ และสนุกสนาน
5)อาจารย์ให้นักศึกษาฟังเพลงเกาะสมุยแล้วให้นักศึกษาเขียนส่งดังนี้
-นักศึกษาฟังเพลงเกาะสมุยแล้วรู้สึกอย่างไร
-เนื้อเพลงเกษะสมุยมีเนื้อหาว่าอย่งไร
6)ความรู้สึกในการเรียนการสอนวันนี้ ได้รับความรู้และเนื้อที่ดีมากสามาถเข้าใจได้ง่าย

บันทึกเข้าเรียนครั้งที่13






วัน อังคาร ที่ 1 กุมภาพันธ์ 2554



ความรู้ของเด็กจะเพิ่มพูนขึ้นเมื่อเด็กได้รับโอกาสในการทำกิจกรรมที่เกี่ยวกับการอ่านร่วมกับผู้ใหญ่และกิจกรรมที่จัดให้เด็กได้อ่านเงียบๆตามลำพัง การอ่านกับเพื่อนเป็นคู่ เป็นกลุ่มย่อย เพื่ออภิปรายร่วมกันในการรับฟัง และตรวจสอบความจริงความเข้าใจซึ่งกันและกัน โดยเฉพาะอ่านจากสิ่งที่ครูและเด็กเขียนร่วมกัน หรือสิ่งที่เด็กเขียนขึ้นเอง นับได้ว่าเป็นการอ่านที่ดีที่สุดของเด็กลักษณะสำคัญและกิจกรรมทรงภาษาแบบองค์รวมการอ่าน



– การเขียน

-เน้นความเข้าใจเนื้อหาเรืองมากกว่าการท่องจำ ตัวหนังสือ ผ่านการฟังนิทานเรื่องราวสนทนาโต้ตอบคิดวิเคราะห์กับครูหรือผู้ใหญ่
-การคาดคะเนโดยการเดาในขณะอ่าน เขียน และสะกด เป็นสิ่งที่ยอมรับได้ในการเรียนรู้ภาษาธรรมชาติ โดยไม่จำเป็นต้องอ่าน หรือสะกดถูกต้องทั้งหมด

- มีหนังสือ วัสดุสิ่งพิมพ์ต่างๆให้เด็กเป็นผู้เลือกเพื่อได้รับประสบการณ์ทางภาษาอย่างหลากหลาย
- ครูแนะนำและสอนการอ่านในกลุ่มที่ไม่ใหญ่มากโดยใช้หนังสือเล่มใหญ่ที่เห็นชัดเจนทั่วกัน

- ให้เด็กแบ่งกลุ่มเล็กๆ ผลัดการอ่านด้วยการออกเสียง















บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่12

สมุดเล่มเล็ก

วันอังคารที่ 1 กุมภาพันธ์ 2554
ความรู้ของเด็กจะเพิ่มพูนขึ้นเมื่อเด็กได้รับโอกาสในการทำกิจกรรมที่เกี่ยวกับการอ่านร่วมกับผู้ใหญ่และกิจกรรมที่จัดให้เด็กได้อ่านเงียบๆตามลำพัง การอ่านกับเพื่อนเป็นคู่ เป็นกลุ่มย่อย เพื่ออภิปรายร่วมกันในการรับฟัง และตรวจสอบความจริงความเข้าใจซึ่งกันและกัน โดยเฉพาะอ่านจากสิ่งที่ครูและเด็กเขียนร่วมกัน หรือสิ่งที่เด็กเขียนขึ้นเอง นับได้ว่าเป็นการอ่านที่ดีที่สุดของเด็ก
ลักษณะสำคัญและกิจกรรมทรงภาษาแบบองค์รวม
การอ่าน

– การเขียน
-เน้นความเข้าใจเนื้อหาเรืองมากกว่าการท่องจำ ตัวหนังสือ ผ่านการฟังนิทานเรื่องราวสนทนาโต้ตอบคิดวิเคราะห์กับครูหรือผู้ใหญ่
-การคาดคะเนโดยการเดาในขณะอ่าน เขียน และสะกด เป็นสิ่งที่ยอมรับได้ในการเรียนรู้ภาษาธรรมชาติ โดยไม่จำเป็นต้องอ่าน หรือสะกดถูกต้องทั้งหมด
- มีหนังสือ วัสดุสิ่งพิมพ์ต่างๆให้เด็กเป็นผู้เลือกเพื่อได้รับประสบการณ์ทางภาษาอย่างหลากหลาย
- ครูแนะนำและสอนการอ่านในกลุ่มที่ไม่ใหญ่มากโดยใช้หนังสือเล่มใหญ่ที่เห็นชัดเจนทั่วกัน
- ให้เด็กแบ่งกลุ่มเล็กๆ ผลัดการอ่านด้วยการออกเสียงดังๆ

บันทึกการเข้าเรียนครั้ง11

( 25มกราคม54)
-อาจารย์ให้นักศึกษาร้องเพลง
เพลง สวัสดี
สวัสดี ๆ ๆ ยินดีที่พบกัน
เธอและฉัน พบกันสวัสดี
เพลง ชื่อของเธอ
ชื่อของเธอฉันไม่รู้จัก ครูถามทักนักเรียนเข้าใหม่
ชื่อของเธอฉันจำไม่ได้ ชื่ออะไรขอให้บอกมา
-ให้นักศึกษาถอดรหัสคำ
เพลง แปรงฟัน
แปรงสิ แปรง แปรง ฟัน
ฟัน หนู สวย สะอาดดี
แปรงขึ้น แปรงลง ทุกซี่
สะอาดดีเมื่อหนูแปรงฟัน
เพลง แมลงมุมลายตัวนั้น
เพลง กระต่าย
เพลงบอกว่าน่ารักจัง
-ภาษาธรรมชาติ
การสอนภาษาโดยองค์รวม
-โคมินิอุส
— เด็กสามารถค้นพบข้อมูลใหม่ๆได้ด้วยการนำเสนอด้วยสิ่งที่เด็กคุ้นเคยในชีวิตอยู่แล้ว เด็กจะเข้าใจในสิ่งของที่เป็นรูปธรรมได้โดยการใช้ภาษาถิ่นหรือภาษาในชีวิตประจำวัน
-กู๊ดแมน สมิธ เมอร์ริดิช
—ความรู้จะเกิดขึ้นอย่างพรั้งพรูจากกระบวนการเรียนรู้ และมีพัฒนาการภาษาพูด ภาษาเขียน ซึ่งครูจะเน้นได้ชัดเจนจากการที่เด็กๆ นั้นอาศัยภาษาเป็นสื่อในการอ่าน ครูใช้ภาษาทุกทักษะ ด้านการพูด อ่าน เขียน แบบองค์รวมในทุกกิจกรรมในห้อง
-จูดิน นิวแมน
—การสอนโดยแนวคิดองค์รวม มีลักษณะเป็นปรัชญา
-จอห์น ดิวอี้
— การเรียนรู้ภาษาของเด็ก เกิดจากประสบการณ์ตรง โดยการลงมือด้วยตนเอง
--เพียเจท์— เด็กจะเรียนรู้ผ่านกิจกรรมด้วยการเคลื่อนไหว และมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมผ่านการเล่น…..

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่10

(18ม.ค 54)
ให้นักศึกษาออกมาแสงตามหัวข้อ
1.คำคล้องจอง
2.หนูรู้สึกยังไง
3.ครอบครัวของฉัน
4.ฟังและปฎิบัติ
5.คำตรงกันข้าม
6.กระซิบต่อกัน
7.วาดภาพแล้วนำมาเล่าภาพต่อกัน
8.ร้องเพลง
9.วาดไปเล่าไป

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 9

ครั้งที่ 9 (11 ม.ค 54)
- อาจารย์ให้นักศึกษานึกประโยคคำพังเพย และออกไปทำท่าให้เพื่อนทาย
- อาจารย์ให้นักศึกษาส่งงาน ฉัน ชอบ กิน
- อาจารย์อธิบายการทำสื่อสำหรับเด็กปฐมวัย
- อาจารย์แจกงานคืนให้กับนักศึกษา
- อาจารย์ให้ส่งสมุดเล็ก
-ทักษะทางภาษา
มนุษย์ใช้การสื่อสารระหว่างกันด้วยวิธีการหลายรูปแบบ วิธีที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดคือ การใช้ภาษาพูดและการเขีย
น การพัฒนาการใช้ภาษาดังกล่าว จะช่วยให้เด็กเข้าใจ และเรียนรู้สิ่งต่างๆ ในสิ่งแวดล้อมได้ดีขึ้น อาจารย์อธิบายสมุดเล่มเล็กทำแล้วได้อะไรบ้าง (เด็กก็จะได้ภาษา)
เด็กปกติทุกคนทุกแห่งจะสามารถเรียนภาษาในสังคมของตนเอง เด็กเล็กจะมีความจำกัดของความสามารถทางสมอง แต่ถึงอย่างไรก็ตาม เด็กอายุสามถึงสี่ปี สามารถเรียนความซับซ้อนของประโยคในภาษาของตนเอได้แล้ว ดูเหมือนว่าเด็กจะเรียนรู้กฎของภาษาจากภาษาพูดที่ตนได้ยิน และประโยคที่เด็กพูดจะเป็นประโยคที่เด็กสร้างขึ้นมาใหม่มากกว่าการเรียนแบบ การเรียนรู้ภาษาของเด็กนั้น เด็กจะต้องเรียนรู้โดยการฟังคนพูด และการอยู่ในสถารณการณ์นั้นๆด้วย เด็กจะพยายามเข้าใจในสิ่งที่ตนได้ยิน และพยายามแสดงออกถึงความเข้าใจ

1.โฆษณา
2.ประชาสัมพันธ์
3.ประกาศ
4.ของรักของหวง
5.เล่าเรื่องจากภาพ
6.เล่าประสบการณ์

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 8

วันอังคาร 4 มกราคม 2554 1)วันนี้อาจารย์ได้แจกใบงานให้นักศึกษาทำโดยให้นักศึกษาแต่ละคนเรียงตัวอักษรพยัญชนะของไทย โดยให้นักศึกษาเติมตัวเลขในช่องวงกลม 2)จากนั้นอาจารย์ได้สาธิตวิธีการพับกระดาษเป็นสมุดเล่มเล็กให้นักศึกษาดู พร้อมกับให้นักศึกษาปฎิบัติตามและอาจารย์ก็ให้นักศึกษาทำสมุดเล่มเล็กของแต่ละคน โดยที่ทำเป็นเรื่องอะไรก็ได้ แล้วนำมาส่งสัปดาห์ต่อไป
3)จากนั้นอาจารย์ก็ได้พูดถึงดังต่อไปนี้
3.1 ความหมายของภาษา - ภาษาเป็นสัญลักษณ์หรือรหัส(code)ใช้แทนสัตว์สิ่งของ สถานที่ กิริยาอาการและเหตุการณ์ เช่น เด็ก กิน ขนม - ภาษาเป็นสัญลักษณ์ของมโนทัศน์เกี่ยวกับโลกหรือ ประมวลประสบการณ์ เช่น บ้าน ประเทศ ความเศร้าโศก - ภาษาเป็นระบบโดยมีระบบเกณฑ์ที่ค่อนข้างจะคงที่ เช่น มีคำที่เป็นประธาน กิริยา กรรม
3.2 องค์ประกอบของภาษา - เสียง - การอ่าน - สัญลักษณ์การอ่าน - ระบบเสียง - ตัวอักษร - ไวยกรณ์ - คำ - ประโยค - คำศัพท์ - ความหมาย - ประโยคข้อความ
4)ความหมายของจุดมุ่งหมายการสอนภาษา - การใช้ภาษาเน้นวิธีการสื่อสารอย่างมีความหมาย - การฟังและประสบการณ์ การอ่านเน้นที่การเข้าใจความหมาย - การพูดและประสบการณ์การเขียนเน้นการสร้างหรือแสดงออกถึงความหมาย
5)ลักษณะของภาษา เนื้อหาของภาษาได้แก่ หัวข้อ เนื้อเรื่อง หรือความหมายของสารจะใช้สื่อกับผู้อื่นประกอบ ชื่อของคน สัตว์ สิ่งของ เหตุการณ์เนื้อหาของภาษา
6)บรรยายกาศในการเรียนการสอน วันนี้เพื่อนบอกว่าสนุกสนามากได้ทำกิจกรรมในชั้นเรียน ได้รู้ว่าการทำหนังสือเล่มเล็กเราก็สามารถทำเองพร้อมกับประหยัดในเรื่องค่าใช้จ่าย เวลา